วันอาทิตย์ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2558

กิจกรรม กศน.ตำบลปิงหลวง ประจำปี 2557



โครงการ/กิจกรรมตามแผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2557

1การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศึกษาพื้นฐานและการศึกษาเทียบเท่าการศึกษาขั้นพื้นฐาน  สำหรับการศึกษาเทียบเท่าการศึกษาขั้นพื้นฐาน(ประถม , .ต้น , .ปลาย) ของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นการจัดเพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาและส่งเสริมให้ประชาชนที่พลาดโอกาส ทางการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองอย่างกว้างขวางและต่อเนื่องเพื่อนำความรู้ไปปรับปรุงคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ให้ดีขึ้นหรือเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับสูงต่อไปโดยกำหนดเป็นหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
  จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดำเนินการจัดการศึกษานอกโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน  ในตำบลที่รับผิดชอบ  แยกเป็นระดับชั้นดังนี้

จำนวนนักศึกษาภาคเรียนที่ 2/2556     หลักสูตร 2551
ระดับ/หลักสูตร
ชาย
หญิง
รวม
ประถมศึกษา
-
-
-
มัธยมศึกษาตอนต้น
8
6
14
มัธยมศึกษาตอนปลาย
31
15
46
รวม
39
21
60



จำนวนนักศึกษาภาคเรียนที่ 1/2557     หลักสูตร 2551
ระดับ/หลักสูตร
ชาย
หญิง
รวม
ประถมศึกษา
1
-
1
มัธยมศึกษาตอนต้น
15
6
21
มัธยมศึกษาตอนปลาย
29
15
44
รวม
45
21
66


จำนวนนักศึกษาภาคเรียนที่ 2/2557    หลักสูตร 2551
ระดับ/หลักสูตร
ชาย
หญิง
รวม
ประถมศึกษา
2
-
2
มัธยมศึกษาตอนต้น
8
6
19
มัธยมศึกษาตอนปลาย
31
15
46
รวม
39
21
67

    

การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดำเนินการจัดกิจกรรม  ดังนี้

1.  ปฐมนิเทศนักศึกษา  ระดับประถม  มัธยมศึกษาตอนต้น  ตอนปลาย โดยให้มีการพบปะกับกลุ่มนักศึกษาทั้งเก่าและใหม่ จัดกิจกรรมแนะนำหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ.2551 วิธีเรียนและจัดกิจกรรม กศน.ตำบลเป็นต้น




2.     จัดกิจกรรมการพบกลุ่ม  / สอนเสริม ระดับประถม  มัธยมศึกษาตอนต้น  ตอนปลาย อธิบายเนื้อหาสาระรายวิชา และมอบหมายกิจกรรม






การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เป้าหมายผลผลิต 70   คน
จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตเป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมความรู้ความสามารถของบุคคลเพื่อให้สามารถจัดการกับตนเองและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้มีความสุขตามสภาพและความสงบสุขความปลอดภัยในสังคม มีสาระสำคัญดังนี้
      1.  เป็นการพัฒนาทักษะพื้นฐานของบุคคล เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมของตนเองและแก้ปัญหาสังคมของตนได้อย่างมีความสุข
      2.  เป็นการเรียนรู้โดยบูรณาการองค์ความรู้และกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ ในชีวิตประจำวันเข้าด้วยกัน
1.     เป็นการจัดการศึกษาในรูปแบบโครงการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยมุ่งหมายที่จะเสริมสร้างความสามารถให้แก่บุคคลเพื่อมีทักษะชีวิตในการแก้ปัญหาเฉพาะด้านให้เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่และแต่ละสถานการณ















ผลการดำเนินงานการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
กิจกรรม
ผู้รับบริการ
รวม
โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
ผู้เข้ารับบริการ  70      คน
    70  คน


จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมละชุมชน เป้าหมายผลผลิต 40 คน
เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะจากการศึกษาที่ผู้เรียนมีอยู่หรือได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียน แล้วนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและชุมชนมีรูปแบบการเรียนเป็นการศึกษาหลักสูตรระยะสั้น เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน โดยเน้นการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน การจัดเวทีชาวบ้าน การจัดกระบวนการเรียนรู้การจัดการความรู้ในชุมชน การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ของประชาชนในชุมชนการดำเนินงานสนับสนุนนโยบายการดำรงชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อจัดการศึกษาสำหรับประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบให้มีความรู้พื้นฐานและสอดคล้องกับวิถีการดำรงชีวิต โดยมีครูอาสาสมัครรับผิดชอบจัดกลุ่มผู้เรียน พร้อมสื่อเอกสาร และสื่ออื่นๆ

   1. โครงการเรียนรู้การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ (กลุ่มบ้านมะค่างาม ตำบลปิงหลวง)


                     


2.โครงการเรียนรู้การทำขนมไทย (กลุ่มแม่บ้านบ้านดอนมูล   ตำบลปิงหลวง)




 



3.โครงการเรียนรู้การทำดอกไม้ประดิษฐ์ (กลุ่มแม่บ้านบ้านดอนมูล   ตำบลปิงหลวง)























การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ เป้าหมายผลผลิต 58 คน

           การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะในการ
ประกอบอาชีพของบุคคล และกลุ่มบุคคลซึ่งมีจุดมุ่งหมายในชีวิตที่แตกต่างกันโดยมีสาระสำคัญดังนี้
การเรียนรู้อาชีพแบบองค์รวมที่ประชาชน ครูกศน. ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันจัดกิจกรรม     การเรียนรู้ เพื่อพื้นฟูเศรษฐกิจชุมชนการออกแบบการเรียนรู้งานอาชีพตามลักษณะของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ในรูปแบบการฝึกทักษะอาชีพ การเข้าสู่อาชีพ การพัฒนาอาชีพ และการพัฒนาอาชีพด้วยเทคโนโลยีการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงที่บูรณาการกับวิถีชีวิต โดยใช้วงจรกระบวนการคิด ทำจำแก้ปัญหาและพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพที่พัฒนาศักยภาพของบุคคลและชุมชนที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตโดยส่งเสริมการรวมกลุ่มอาชีพ สร้างเครือข่ายอาชีพมีระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้และประสบการณ์ทำอาชีพภายใต้วัฒนธรรมของชุมชน มีกลยุทธ์เพื่อการแข่งขันของชุมชน เป็นชุมชนที่ใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการและพัฒนาอาชีพการศึกษาพัฒนาอาชีพ ดำเนินการจัดฝึกทักษะอาชีพ ให้กับประชาชนในตำบลที่รับผิดชอบดังนี้
                                                                                                                                                  
        โครงการเพาะเห็ดภูฏานดำ ศาลาประชาคมบ้านมะค่างาม ตำบลปิงหลวง อำเภอนาหมื่น 


           


         


          โครงการเพาะเห็ดภูฏานดำ (คนพิการ)ศาลาประชาคมบ้านมะค่างาม ตำบลปิงหลวง          อำเภอนาหมื่น



โครงการการจัดกระบวนการเรียนรู้การเพาะผักหวานป่า บ้านน้ำลีใต้  ม.8 ต.ปิงหลวง










โครงการการทำไม้กวาดดอกก๋งบล็อกพลาสติก  บ้านมะค่างาม




ผลการดำเนินงานการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ
กิจกรรม
ผู้รับบริการ
รวม
การเพาะเห็ดภูฐานดำ
20  คน
 58  คน
การเพาะเห็ดภูฐานดำ (คนพิการ)
8  คน
การเพาะกล้าพักหวาน
15  คน
การทำไม้กวาดดอกก๋งบล๊อกพลาสติก
 15  คน




งานการศึกษาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  เป้าหมายผลผลิต 14 คน
การจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพอเพียงเป้าหมายที่สำคัญคือการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน ด้วยวิธีการเข้าใจเข้าถึง และพัฒนาตามรูปแบบของการศึกษานอกโรงเรียนโดยสร้างกระบวนการเรียนรู้ที่ช่วยให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติเป็นเป้าหมายสำคัญมีหมู่บ้านเป้าหมายหลัก คือ

การปลูกไผ่ซางหม่น   บ้านน้ำทา   หมู่ที่ 9   ตำบลปิงหลวง อำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน



  mso2ผลการดำเนินงานการจัดระบวนการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม
ผู้รับบริการ
รวม
การปลูกไผ่ซางหม่น  
ผู้เข้ารับบริการ 14 คน
   14 คน



 การศึกษาตามอัธยาศัยและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป้าหมายผลผลิต  300 คน
การส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตเป็นการส่งเสริมให้มีการจัดตั้งและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อสนับสนุนให้ประชาชนสามารถเรียนรู้ได้ตามความต้องการโดยส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้แหล่งข้อมูลชุมชนและส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ในพื้นที่ต่างๆของตำบลนาทะนุง
อำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน                                                                                                                                                          
§  จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเนื่องในงานงานวันเด็กแห่งชาติ      
§  กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในศูนย์ กศน.ตำบลและนอกพื้นที.่
§  กิจกรรมเรียนรู้กับภูมิปัญญาท้องถิ่น
§  กิจกรรมจัดนิทรรศการความรู้ต่าง ๆ
§  โครงการบ้านหนังสืออัจฉริยะ 5 หมู่บ้าน 

















ผลการดำเนินงานการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
กิจกรรม
ผู้รับบริการ
รวม
      กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในศูนย์ กศน.ตำบลและนอกพื้นที่
 ผู้เข้ารับบริการ 100 คน
600คน
     กิจกรรมจัดนิทรรศการความรู้ต่าง ๆ
ผู้เข้ารับบริการ 100คน
     กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
ผู้เข้ารับบริการ 100คน
     กิจกรรมบ้านหนังสืออัจฉริยะ
ผู้เข้ารับบริการ 300คน











ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น